ผู้สอน

นายอนุรัตน์ เขมานิฏฐาไท

ตำแหน่ง

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญงานคัดแยกคุณภาพและคัดสรรพลอยลงตัวเรือน

ประสบการณ์การทำงาน และความเชี่ยวชาญ

นายอนุรัตน์ เขมานิฏฐาไท

  1. ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.) สาขาวิทยาการจัดการ
  1. ประสบการณ์การทำงาน
  • ปี 2524 เริ่มต้นจากการเป็นช่างเจียระไนพลอยที่โรงงานคุณโยธิน ปิยะจินดา ถนนสาธุประดิษฐ์
  • ปี 2530 - 2533 หัวหน้าฝ่ายงานเฉพาะ(ไร้หนาม) บริษัท เจมเทค ไทยแลนด์ จำกัด
  • ปี 2534 - 2539 ผู้ควบคุมสายงาน (supervisor) บริษัทจิวเวลเทค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
  • ปี 2538 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายการผลิต บริษัทฮูเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
  • ปี 2547 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัทเบสท์วันจิวเวล แมนูแฟคเจอริ่งจำกัด
  1. ประสบการณ์งานวิชาการ
  • คณะกรรมการยกร่างมาตรฐานอาชีพสาขาช่างเครื่องประดับ ตามโครงการพัฒนาระบบคุณวุฒิ วิชาชีพ(TVQ) สกอ. กระทรวงศึกษาธิการ
  • คณะกรรมการที่ปรึกษาและอาจารย์สอนพิเศษ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวงในพระบรมมหาราชวัง
  • จัดทำสื่อประกอบการสอนในโครงการสอนวิชาชีพแก่ผู้พิการทางการได้ยิน(หูหนวก-หูตึง) ตามพระราชดำริในสมเด็จฟ้าเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
  • อาจารย์สอนพิเศษ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรจน์
  • คณะกรรมการดำเนินการหลักสูตร สถาบันอัญมณี เครื่องประดับไทยและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโลยีราชมงคลพระนคร
  • คณะกรรมการดำเนินการหลักสูตรฝึกยกระดับฝีมือ สาขาอาชีพ ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ช่างเครื่องประดับ(ประดับอัญมณี) Gemstone Setter สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร กรมพัมนาฝีมือ กระทรวงแรงงาน
  1. ประสบการณ์ด้านวิทยากร
  • วิทยากรโครงการฝึกอบรมผู้ดำเนินการประชุม (Facilitator) การพัฒนามาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • วิทยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาชีพช่างเครื่องประดับและอัญมณี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • วิทยากรโครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ “พี่เลี้ยงน้อง” กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง
  • วิทยากรโครงการประชุมสัมมนาบุคลากรอาชีวศึกษาในการพัฒนาระบบคุณวุฒิให้แก่สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • วิทยากรโครงการเปิดตำนานศิลปาชีพ ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ
  • วิทยากรแนวทางการเพิ่มผลผลิตกำลังคนในกลุ่มอุตสาหกรรมหลัก(สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
  • วิทยากรในหัวข้อ โอกาส และเส้นทางอาชีพในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ โครงการ อาชีวะเพชรน้ำหนึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • วิทยากรฝึกอบรมเตรียมผู้ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 5 นครราชสีมา
  • วิทยากรฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ โรงเรียนฝึกอบรมและพัฒนาวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ
  • วิทยากรฝึกอบรมหลักสูตร การเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
  • วิทยากรโครงการหัวข้อ การใช้จิตวิทยา จูงใจพนักงาน ให้เพิ่มผลลัพธ์ ในการปฏิบัติงาน ของสมาคมช่างทองไทย ณ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี
  • วิทยากรโครงการพัฒนาบุคลากรด้านองค์ความรู้งานรูปพรรณการขัดแต่งชิ้นงานและชุบเคลือบผิวชิ้นงาน ณ สถาบันอัญมณีเครื่องประดับไทยและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • วิทยากรโครงการอบรมผู้ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาอาชีพช่างอุตสาหกรรมศิลป์ สาขาช่างเครื่องประดับ(รูปพรรณ) ณ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวงจังหวัดนครปฐม
  • วิทยากรโครงการอบรมผู้ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาอาชีพช่างอุตสาหกรรมศิลป์ สาขาช่างเครื่องประดับ(ประดับอัญมณี) ณ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง จังหวัดนครปฐม
  • วิทยากรโครงการอบรมหลักสูตรฝึกยกระดับฝีมือ สาขาอาชีพ ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ช่างเครื่องประดับ(ประดับอัญมณี) Gemstone Setter ณ ศูนย์พัฒนาและฝึกอบรมอัญธานี นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี เขตประเวศ กรุงเทพฯ
  • วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับสมรรถนะอาชีพและเตรียมความพร้อมเพื่อทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาช่างเครื่องประดับ(รูปพรรณ) ของครูและบุคลากรอาชีวะศึกษา ณ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง จังหวัดนครปฐม
  • วิทยากรโครงการโครงการพัฒนาครูช่างเพื่อยกระดับการถ่ายทอดทักษะการสอน ณ โรงแรมเดอะคาวาลิ คาซ่ารีสอร์ท โดยสมาคมช่างทองไทยและมูลนิธิส่งเสริมอัญมณีและเครื่องประดับ
  • โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในอุตสาหกรรมแฟชั่น(อัญมณีและเครื่องประดับ) ณ สถาบันอัญมณีเครื่องประดับไทยและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการเลื่อนวิทยฐานะ ในหัวข้อ(การพัฒนามาตรฐานอาชีพและการจำแนกกลุ่มบทบาทสายอาชีพอัญมณีและเครื่องประดับไทย) ณ กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ช่างทองหลวง สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Q&A