รศ.ดร.สายสมร นิยมสรวญ

คณาจารย์ /

รศ.ดร.สายสมร นิยมสรวญ

S__470753282

รศ.ดร.สายสมร นิยมสรวญ

ตำแหน่ง :

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านงานเจียระไนอัญมณี

ประสบการณ์การทำงาน และความเชี่ยวชาญ :

ประวัติการศึกษา

  • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วท.บ) สาขาวัสดุศาสตร์
  • Colorado School of Mines, S.A (M.Sc. ; Materials Science)
  • Colorado School of Mines, S.A (Ph.D. ; Materials Science)

ประสบการณ์ทำงานและด้านการสอน

  • นักวิจัยรับเชิญ เรื่อง “Synergetic Effects of Carbon Catalyst and Ball Milling on Hydrogen Storage Properties of Mg-Al Alloys
  • นักวิจัยรับเชิญ เรื่อง “Ball milling method of Mg -Al alloys hydrogen storage materials”
  • ทุนการวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdoc) เรื่อง “Rapid solidification of Silver-rich alloys
  • นักวิจัยรับเชิญ เรื่อง “Magnetic properties of AB2-type Hydrogen Storage materials”
  • ร่วมบรรยาย ในการจัดงานประชุมเชิงวิชาการ Entrepreneurial Conference on Innovation for Smart Jewelry ณ หอดนตรีและการแสดงอโศกมนตรี 1 (หอประชุมใหญ่) ชั้น 4 ศูนย์ศิลปกรรมแห่งประเทศไทย อาคารนวัตกรรม

ผลงานวิจัย

  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การประยุกต์วิธีการฉีดขึ้นรูปโลหะผงในการขึ้นรูปตัวเรือนเครื่องประดับส่วนที่ ตัวประสานที่เหมาะสม กับผงโลหะมีค่าชนิดต่างๆ
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการป้องกันการหมองของโลหะผสมเงินด้วยการเคลือบฟิล์มบางโดยวิธี ดีซี แมกนีตรอน สปัตเตอริง
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาโลหะจำรูปเพื่อประยุกต์ใช้กับเครื่องประดับ
  • หัวหน้าโครงการ การพัฒนาเครื่องประดับที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากแก้วอุณหภูมิต่ำที่ปราศจากตะกั่ว
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง เคลือบฟิล์มบางอลูมินาด้วยเทคนิค แมกนีตรอน สปัตเตอริง เพื่อปรับปรุงคุณภาพอัญมณีเนื้ออ่อน
  • หัวหน้าโครงการ การวิจัยและพัฒนาการเคลือบฟิล์มบางอลูมินาเพื่อเพิ่มความต้านทานต่อการขีดข่วนของอัญมณี เนื้ออ่อนด้วยเทคนิค Plasma-enhanced atomic layer deposition (PE-ALD)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การเตรียมโลหะผสม Mg-Al เพื่อเป็นวัสดุตั้งต้นของวัสดุกักเก็บไฮโดรเจน โดยกระบวนการผสมเชิงกล และการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาโลหะผสมแมกนีเซียมด้วยสารเติม สำหรับการกักเก็บก๊าซไฮโดรเจนเพื่อเป็นพลังงาน ทางเลือก
  • หัวหน้าแผนงานวิจัยเรื่อง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาการทอเสื่อกก จันทบูร
  • หัวหน้าแผนงานวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาจันทบุรีไปสู๋นครแห่งอัญมณีโลก ปี 3
  • ร่วมโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาเปอร์เซ็นต์ของโลหะผสมมีค่าจากการนำกลับมาใช้ใหม่ในการผลิตเครื่องประดับ ในจังหวัด จันทบุรี
  • ร่วมโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาเหลี่ยมเจียระไนอัญมณีแบบใหม่โดยการออกแบบเหลี่ยมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • ร่วมโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาโลหะผสมทองขาวที่ปราศจากนิกเกิลและโลหะกลุ่มแพลทินัมเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนวียนของอุตสาหกรรมเครื่องประดับ

ด้านวารสารวิชาการ

  • Chomsaeng N., Yingsa-Nga, R., Chindudsadeegul, P., Niyomsoan, S. (2022) Characterisation of Phosphate-Bonded Investments For Platinum Casting. Suranaree Journal of Science and Technology. 28(6):030075 (1-6)
  • Noikaew, B., Wangmooklang, L., Niyomsoan, S., & Larpkiattaworn, S. (2021). Preparation of transparent alumina thin films deposited by RF magnetron sputtering. Journal of Metals, Materials and Minerals, 31 (21), 96-103. doi:10.14456/jmmm.2021.25
  • Niyomsoan, S., Leiva, D.R., Silva, R.A., Chanchetti, L.F., Shahid, R.N., Scudino, S., Gargarella, P., & Botta, W.J. (2019). Effects of graphite addition and air exposure on ball-milled Mg–Al alloys for hydrogen storage. International Journal of Hydrogen Energy, 44(41), 23257-23266. doi:10.1016/j.ijhydene.2019.07.071
  • Chanmuang, C., Niyomsoan, S., & Chomsaeng, N. (2018). Effect of indium in Cu-Zn-Al shape memory alloys. Journal of Physics: Conference series, 1082, 012060.

doi: 10.1088/1742-6596/1082/1/012060

  • Niyomsoan, S., Gargarella, P., Chomsaeng, N, Termsuksawad, P., Kühn, U., & Eckert, J. (2015). Phase Separation in Rapid Solidified Ag-rich Ag-Cu-Zr alloys. Materials Research, 18 (supl.1), 120-126. doi:10.1590/1516-1439.317614
  • Niyomsoan, S., Gargarella, P., Stoica, M., Khoshkoo, M. S., Kühn, U., & Eckert, J. (2013). Phase formation in rapid solidified AgY alloys. Journal of Applied Physics, 113, 104308. doi: 10.1063/1.4794806
  • Niyomsoan, S., Termsuksawad, P., Goldfarb, R.B., Olson, D.L., Mishra, B., Kaydanov, V., & Gavra, Z. (2008). Hydrogenation of Zr0.9Ti0.1CrxFe2–x Intermetallic Compounds: Free Electron Model for Magnetic Susceptibility and Thermoelectric Power. Review of Quantitative Nondestructive Evaluation, 27, 1109-1116.
  • Termsuksawad, P., Niyomsoan, S., Mishra, B., Olson, D.L., Gavra, Z., & Kaydanov, V. (2005). Prediction of hydrogen absorption behavior in AB5 hydrogen storage alloys by electronic techniques. Materials Science and Engineering B, 117, 1, 45-51.
  • Niyomsoan, S., Termsuksawad, P., Olson, D.L., Mishra, B., Kaydanov, V., & Gavra, Z. (2005). The relationship between the thermoelectric power and phase structure in AB2 hydrogen storage materials. Materials Science and Engineering A, 391, 1-2, 264-271.
  • Termsuksawad, P., Niyomsoan, S., Goldfarb, R.B., Olson, D.L., Mishra, B., Gavra, Z., & Kaydanov, V. (2004). Measurement of Hydrogen in Alloys by Magnetic and Electronic Techniques. Journal of Alloys and Compounds, 373, 1-2, 86-95.
  • Termsuksawad, P., Niyomsoan, S., Mishra, B., Goldfarb, R.B., Olson, D.L., & Gavra, Z. (2002). Measurement of Hydrogen by Magnetic and Electronic Techniques in Metallic Materials. 201st Electrochemical Society Meeting 2002. PA: Philadelphia
  • Niyomsoan, S., Grant, W., Olson, D.L., & Mishra, B. (2002). Variation of Color in Titanium and Zirconium Nitride Decoration Thin Films. Thin Solid Films, 415, 1, 187-194
  • Olson, D.L, Mishra, B, Smith II, R.D., Niyomsoan, S., Termsuksawad, P., Park, Y.D., Kaydanov, V.I., Gavra, Z., and Goldfarb, R.B. (2001). Advances in weld hydrogen sensors. ASM Conference Proceedings: Joining of Advanced and Specialty Materials IV: Proceedings from Materials Solutions 2001; Indianapolis, IN; United States; 5 November 2001 through 8 November 2001; 118-124

 

ความเชี่ยวชาญ/ความสามารถพิเศษ/ความถนัด

  • มีความเชี่ยวชาญเรื่องวัสดุศาสตร์
  • มีความเชี่ยวชาญในด้านการเจียระไนพลอย ด้วยเครื่องเจียระไนแบบ Index ตามแบบเหลี่ยมเจียระไนที่ออกแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • มีความเชี่ยวชาญการผสมโลหะ การเปลี่ยนแปลงเฟสในวัสดุ และการตรวจวิเคราะห์วัสดุโลหะ
  • มีความเชี่ยวชาญในความรู้เกี่ยวกับโลหะผสม
  • มีความเชี่ยวชาญในกระบวนการโลหะวิทยากายภาพ และกระบวนการผลิตวัสดุโลหะ
  • มีความเชี่ยวชาญรู้เกี่ยวกับวัสดุกักเก็บพลังงานไฮโดรเจน

หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง :